วันอังคารที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

โครงงานอาชีพ
เรื่อง การทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำ
คณะผู้จัดทำ
นาย.กรกต   ลาดโพธิ์     เลขที่11  ม.6/6
นาย.พรประสิทธิ์  กุลโชติ  เลขที่17 ม.6/6
น.ส.นภัสสร กุมภาพงษ์   เลขที่22   ม6/6
น.ส.ลำดวน     ภิลาคุณ    เลขที่24     ม6/6
อาจารย์ที่ปรึกษา
คูณครู.อนุสรณ์ ฤกษ์บางพลัด
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ CAI ช่วยสอน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่5/6
ภาคเรียนที่2ปีการศึกษา2556







บทคัดย่อ
ในปัจจุบันการทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำถือเป็นการสร้างรายได้เสริมให้กับผู้ทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำ เพราะในปัจจุบัน ได้มีการทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำเพื่อเป็นรายได้เสริมมีการแพ่หลายไปพร้อมกับวัฒนธรรมไทย เนื่องจากคนในปัจจุบันการทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำได้มีการทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำเป็นเวลายาวนานแล้วคนสมัยก่อนนั้นตะกร้าถือเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็น คนสนัยก่อนทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำเอาไว้กินแค่ในครอบครัว หนึ่งและได้รวบรวมไว้ไนโครงงานเล่มนี้ เพื่อให้บุคคลที่สนใจ ศึกษาและแนวทางต่อไป





















กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาประวัติและวิธีการทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำที่ถูกวิธีและสามารถทำเป็นรายได้เสริม และการจัดทำโครงงานครังนี้สำเร็จรุร่วงไปได้ด้วยดีเนื่องจากได้คำปรึกษาจาก อาจายย์ อนุสรณ์ ฤกษ์บางพลัด กลุ่มของพวกเราจึงขอขอบคุณไว้ ณ ที่นี้




















สารบัญ
                                                                                                                      เรื่อง                                                                                                             หน้าที่
บทที่ 1      ที่มาและความสำคัญ                                                                        1
บทที่2      เอกสารที่เกี่ยวข้อง                                                                        2-4
บทที่ 3     วัสดุอุปกณ์และขั้นตอนการดำเนินงาน                                           5
บทที่4      จากการศึกษาค้นคว้า                                                                    6-12
บทที่ 5     สรุปอภิปรายและข้อเสนอแนะ                                                        13
ภาผนวก                                                                                                       15-17









บทที่  1
ที่มาและความสำคัญ
                ชาวบ้านส่วนใหญ่ในสมัยก่อนนิยมคิดค้นการทำอาหาร เช่น การทำข้าวหลาม การทำขนม เป็นต้น ซึ่งอาหารเป็นการอยู่การกินของมนุษย์ และชาวบ้านในสมัยก่อนมีความรู้ในการทำข้าวหลามมาก เเต่ทุกวันนี้มีคนรู้จักและสนใจในการทำข้าวหลามน้อยมาก เเละคนสมัยใหม่ไม่ชอบพูดคุยหรืออยู่กับ ปู่ ย่า ตา ยาย ซึ่งท่านดังกล่าวมีความสามารถในการทำข้าวหลามมากเป็นเพราะในทุกวันนี้มีเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาในการมีบทบาทในชีวิตประจำวันของคนเรามาก วัฒนธรรมไทยจึงค่อยๆหายไปจากสังคม ลูกหลานก็ไม่ค่อยสนใจการทำอาหารการทำข้าวหลามด้วย และอาหารการกินมีเเต่จะชื้อใช้เพราะสะดวกเเละไม่ยุ่งยากเหมือนการทำกินเองในสมัยก่อนปู่ ย่า ตา ยาย ที่พากันทำการสอนมาให้เรา   
               ในการทำโครงงานครั้งนี้มีการปรึกษากันภายในกลุ่มและมีการแบ่งเป็นกลุ่มย่อยตามความสามารถและความถนัดของตน  ในกลุ่มของดิฉันมีการพัฒนารสชาติให้ทันสมัยตามความชอบของคนในปัจจุบัน  ซึ่งคนในยุคปัจจุบันใส่ใจสุขภาพมากเพราะโรคภัยไข้เจ็บทวีความรุนแรงมากขึ้น  เราจึงพัฒนารสชาติมาเป็นข้าวหลามเพื่อสุขภาพ มีการนำธัญพืชมาเป็นส่วนผสมของข้าวหลามทำให้ข้าวหลามกิดความแปลกใหม่แตกต่างจากที่อื่น  มีรสชาติใหม่ ทำให้ผู้คนสนใจมากยิ่งขึ้น
                 
 จุดมุ่งหมายของโครงงาน
               1. เพื่อทำให้คนในปัจจุบันได้รู้จักวิธี เเละความรู้พื้นฐานในการทำข้าวหลาม
                2. เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาของคนรุ่นหลังเอาไว้และพัฒนาให้แปลกใหม่น่าสนใจมากยิ่งขึ้น
                3. เพื่อนำข้าวหลามไปจำหน่ายให้เกิดรายได้  สามารถนำไปต่อยอดทางธุรกิจได้
สมมุติฐาน
หวังว่าจะได้รับประโยชน์จากการทำโครงงาน เพื่อนำไปประกอบอาชีพไนอนาคต และ สามารถประยุกต์ข้าวหลามให้ทำได้ง่ายมากขึ้นกว่าเดิม
ขอบเตการศึกษา
ศึกษาจากเว็บไชต์และสอบถามบุคคลที่รู้เกียวกับจักสานตะกร้าจากข้าวหลาม
บทที่2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ความรู้เกี่ยวกับโครงงาน
        โครงงานหมายถึง กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นใดไปใช้ในการศึกษาหาคำตอบในเรื่องนั้นๆ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนำและให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดำเนินการ วางแผน กำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน โดยทั่วๆ ไป การทำโครงงานสามารถทำได้ทุกระดับการศึกษา ซึ่งอาจทำเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน อาจเป็นโครงงานเล็กๆ ที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนหรือเป็นโครงงานใหญ่ที่มีความยากและซับซ้อนขึ้นก็ได้ 
จากคำกล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า
     โครงงานคือการทำชิ้นใดชิ้นหนึ่งที่ผู้ศึกษาสนใจและมีความรู้ในเรื่องนั้นโดยมีการให้คำแนะนำจากผู้ที่มีความรู้ ขั้นตอนแรกของการทำงาน จะต้องมีการวางแผนกันภายในกลุ่มและปรึกษาหารือกันเพื่อเลือกชิ้นงานที่สนใจโดยต้องมีการกำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน   ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้    จนได้ข้อสรุป
       ข้าวหลามถือว่าเป็นอาหารที่รู้จักกันมานานพอสมควรซึ่งแต่ละพื้นที่ก็มีวิธีการผลิตที่แตกต่างกัน นอกจากจะเป็นอาหารแล้วในอดีตถึงปัจจุบันคนนครปฐมยังมีค่านิยมและความเชื่อเกี่ยวกับข้าวหลามอีกด้วย
       ดังเช่นสมัยก่อนผู้ที่ไปเยี่ยมญาติหรือไปหาผู้ใหญ่ต้องซื้อข้าวหลามนครปฐมไปฝากทุกครั้ง  ถือเป็นสัมพันธภาพที่ยั่งยืนดั่งข้าวเหนียว  นอกจากนี้ยังมองเห็นถึงความเป็น คนไทยที่ไปมาหาสู่กันมักจะนำของฝากติดมือ ไปด้วยเสมอ  และคำว่า ข้าวหลามก็เป็นคำ ที่ปรากฏอยู่ในคำขวัญของจังหวัดนครปฐมตั้งแต่อดีตอันยาวนานจนถึงปัจจุบัน
ความรู้เรื่องข้าวหลาม
                ข้าวหลามเป็นอาหารที่รู้จักกันดีในหมู่นักท่องเที่ยวทั่วไปที่เมื่อผ่านจังหวัดนครปฐมจะต้องซื้อติดไม้ติดมือไปแล้ว ยังเป็นของฝากที่ชาวนครปฐมซื้อิไปฝากผู้อื่นเป็นประจำ นครปฐมเป็นจังหวัดที่มีชื่อเสียงเรื่องข้าวหลามมากเพราะ นอกจากรสชาดจะเป็นที่ติดอกติดใจของผู้ซื้อและผู้รับฝากแล้ว ยังมีขายได้ตลอดปี ข้าวหลามนครปฐม เป็นที่รู้จักกันดี มานานจะถามได้ว่าเริ่มขึ้นตั้งแต่เมื่อไร ก็ตอบไม่ได้ บรรดาผู้ทำข้าวหลามขายทั้งหลาย ส่วนใหญ่ก็มีอาชีพนี้ สืบทอด มาจากบรรพบุรุษ เนื่องจากข้าวหลามได้รับความนิยมกันมาก ดังนั้นจึงมีผู้ประกอบอาชีพเผาข้าวหลามขายกันมาก บางเจ้าถึงกับต้องมีการศึกษา เครื่องหมายไว้ประกันคุณภาพ หรือติดชื่อผู้ทำไว้ตามหน้าร้านด้วย เพื่อให้เป็นการปรับปรุง 
คุณภาพกันอยู่เสมอ คุณภาพข้าวหลามพัฒนากันไปเรื่อยๆ ปัจจุบันถึงจะมีอาหารอื่นๆ เช่น ผลไม้ ในจังหวัดนี้ ข้าวหลาม ก็ยังเป็นที่นิยม เพราะข้าวหลามมีราคาถูก รับประทานให้อิ่มได้ทน เหมาะสำหรับนักเดินทางผ่าน แล้วยังเป็นอาหารที่เชื่อ ได้ว่าสะอาดเพราะไม่ต้องผ่านมือคนขาย
ส่วนผสม....ข้าวเหนียว....มะพร้าว....น้ำตาลทราย....เกลือป่น....ถั่วดำ
วิธีทำข้าวหลาม
1. ส่วนกระบอก เลือกไม้ไผ่ที่ค่อนข้างอ่อน จะมีเยื่อมาก เพื่อให้ข้าวหลามที่สุกแล้ว 
เมื่อแกะรับประทานจะสะดวกเพราะมันล่อนหลุดจากเปลือกไม้ไผ่ได้ง่าย เอามาเลื่อยกะระยะประมาณกระบอกละ 15-20 เซนติเมตร. ตามใจชอบ ถ้ากระบอกไหนมีกลิ่นก็ไม่ใช้ เพราะจะทำให้ข้าวหลามมีกลิ่นไปด้วย สำหรับจุกที่จะอุดปากกระบอกข้าวหลามเพื่อให้ข้าวหลามระบุก็ทำจากใบตองแห้งห่อกาบมะพร้าวอย่างอ่อนให้ได้ขนาดพอเหมาะกับกระบอกไม้ไผ่แต่ละกระบอกพับหัวกับท้ายแล้วพับเข้
าหากันอีกที นำไปลองอุดกับกระบอกไม้ไผ่ให้แน่นพอดีก็ใช้ได้ เราจะต้องทำจุกทุกกระบอก 
จุกจะช่วยให้ข้าวเหนียวในกระบอกร้อนระอุสุกทั่วกัน และช่วยไม่ให้กระทิหกล้นกระบอกด้วย
2. ส่วนเนื้อข้าวหลาม เอาข้าวเหนียวที่แช่น้ำทิ้งไว้หนึ่งคืน มาล้างให้หมดกากแล้วผึ่งน้ำ กรอกใส่กระบอกประมาณ 1/3 ของกระบอก มะพร้าวคั้นเป็นกระทิแล้วกรอกใส่กระบอกที่มีข้าวเหนียวแล้วประมาณ 1/2 กระบอก กระทิที่ใส่ลงไปนั้น ผสมน้ำตาล เกลือ ให้ได้รสชาดเข้มข้นสักนิด เพื่อว่าเมื่อข้าวหลามสุกแล้วก็จะได้รสชาดพอดี ถ้าชอบถั่วดำ ก็เอาถั่วดำที่ต้มสุกแล้วล้างน้ำให้สะอาดคลุกกับข้าวเหนียวก่อนกรอกใส่กระบอกด้วย
3. เตรียมที่เผาข้าวหลาม จะใช้แบบเอาโคนกระบอกตั้งฝังดินสัก 3-5 เซนติเมตร ป้กให้เป็นแถวๆ 
หรือใช้แบบตอกหลักสองหลัก เอาเหล็กพาด แล้วจึงเอากระบอกข้าวหลามวางเอนบนเหล็กเรียงกัน 
หลักควรให้ห่างกันเท่าที่พื้นที่อำนวยจะทำเป็นสองแถวก็ได้ ติดไฟใส่ถ่านให้ยาวเท่ากันกับความยาวของแถวข้าวหลาม แล้วเราก็หมั่นคอยพลิกให้ข้าวหลามสุกทั่วกัน เวลาที่เผาจะใช้เวลาประมาณ 30 นาที ถ้าอย่างไรมีใส่สังขยาก็เพิ่ม ไข่ น้ำตาลปีบ ผสมให้เข้ากันแล้วหยอดเวลาข้าวหลามสุกแล้ว เผาต่อเพื่อให้สังขยาสุก


ส่วนผสม
1.             ข้าวสารเหนียว      1 1/2       ลิตร
2.             น้ำตาลทราย          400         กรัม
3.             กะทิ        3              ถ้วย
4.             ถั่วดำถั่วดำต้มสุก 2              ถ้วย
5.             เกลือป่น 2              ช้อนโต๊ะ
6.             ไผ่ข้าวหลาม          12           กระบอก
7.             กาบมะพร้าว         12           ชิ้น
วิธีการย่างไฟ
1. ติดไฟเตา เมื่อไฟติดได้ที่แล้ว จึงนำกระบอกข้าวหลามที่เตรียมไว้มาวางเรียงในลักษณะตั้งเอนขึ้นให้พิงกับแนวหลักที่ทำจากท่อนเหล็ก 
2. ควรพลิกข้าวหลามอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ข้าวหลามสุกอย่างทั่วถึง และไม่ให้ข้าวหลามไหม้บริเวณใดบริเวณหนึ่ง 
3. หากกะทิเดือดมาก ต้องคอยดึงจุกข้าวหลามออก แล้วเทกะทิใส่เข้าไปใหม่ 
4. การย่างข้าวหลามจะต้องอาศัยระยะเวลาในการย่างถึง 1 ชั่วโมง ข้าวหลามจึงจะออกมาดูน่ารับประทาน 






บทที่ 3           
วัสดุอุปกณ์และขั้นตอนการดำเนินงาน
วัสดุอุปกณ์
1. ไม้ไผ่อ่อน
2. มีดปลอกข้าวหลาม
3. ราวเหล็ก
4. ถ่าน  5  กิโลกรัม
5. ช้อน
6. หม้อ
7. ไม้คีบถ่าน
ขั้นตอนและวิธีการดำเนีนงาน
1.             ตัดไผ่ข้าวหลามให้ยาวประมาณ 12 นิ้ว ล้างเฉพาะด้านนอกกระบอก ให้สะอาด คว่ำกระบอกลง พักไว้ให้แห้ง
2.             ผสมกะทิ น้ำตาล และเกลือ รวมกันแล้วคนให้เข้ากันจนน้ำตาลละลาย
3.             ล้างข้าวสารให้สะอาดจนกระทั่งน้ำใส นำข้าวใส่ตระกร้าเพื่อให้สะเด็ดน้ำ ใส่ถั่วดำต้มสุกลงในข้าว คลุกเคล้าให้เข้ากัน
4.             นำข้าวที่ผสมถั่วดำแล้วใส่ลงในกระบอก 1 กำมือ กระแทกเบาๆ ทำสลับกันต่อไปเรื่อยๆ จนเต็มกระบอก เลือกด้านบนกระบอกไว้ประมาณ 2 นิ้ว สำหรับปิดจุก
5.             นำกาบมะพร้าวม้วนมาปิดกระบอกข้าวหลาม
6.             เผาข้าวหลามพอประมาณ 30-45 นาที สังเกตกระบอกมีสีเหลืองทั่ว แสดงว่าข้าวหลามสุก
7.             ทิ้งไว้ให้อุ่น ปอกเปลือก และเหลาให้เปลือกข้าวหลามบางลง เพื่อให้แกะรับประทานได้ง่าย
บทที่4
จากการศึกษาค้นคว้าและฝึกทำการทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำผลที่ได้คือพวกเราได้เรียนรู้วิธีการการทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำที่ถูกวิธี และได้ข้าวหลามข้าวเหนียวดำอย่างสมบรูแบบ
วัสดุอุปกณ์
1. ไม้ไผ่อ่อน





2. มีดปลอกข้าวหลาม






3. ราวเหล็ก









4. ถ่าน  5  กิโลกรัม







5. ช้อน





6. หม้อ









8. ไม้คีบถ่าน









วิธีการทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำ









1.             ข้าวเหนียว 10 ถ้วยตวง










2.กะทิ 4 ถ้วยตวง

 






3.เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ









4.น้ำตาลทราย 1/2 ถ้วยตวง










5.กระบอกไม้ไผ่ ขนาด ประมาณ 15-20 เซนติเมตร


ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การตัดกระบอกไม้ไผ่
ตัดกระบอกไม้ไผ่ยาวประมาณ15-20เซนติเมตรส่วนความกว้างขึ้นอยู่กับกระบอกไม้ไผ่ตามธรรมชาติซึ่งจะมีขนาดไม่เท่ากันโดยส่วนปลายจะได้กระบอกเล็กและไล่ลงมาจนถึงส่วนโคนกระบอกจะใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อตัดกระบอกไม้ไผ่ได้ตามจำนวนที่ต้องการแล้วนำไม้หุ้มฟองน้ำล้วงเอาเศษผงและฝุ่นละอองออกให้หมด
ขั้นตอนการทำ


1.      ตัดไผ่ข้าวหลามให้ยาวประมาณ 12 นิ้ว ล้างเฉพาะด้านนอกกระบอก ให้สะอาด คว่ำกระบอกลง พักไว้ให้แห้ง









2.      ผสมกะทิ น้ำตาล และเกลือ รวมกันแล้วคนให้เข้ากันจนน้ำตาลละลาย







3.      ล้างข้าวสารให้สะอาดจนกระทั่งน้ำใส นำข้าวใส่ตระกร้าเพื่อให้สะเด็ดน้ำ ใส่ถั่วดำต้มสุกลงในข้าว คลุกเคล้าให้เข้ากัน
















4.      นำข้าวที่ผสมถั่วดำแล้วใส่ลงในกระบอก 1 กำมือ กระแทกเบาๆ ทำสลับกันต่อไปเรื่อยๆ จนเต็มกระบอก เลือกด้านบนกระบอกไว้ประมาณ 2 นิ้ว สำหรับปิดจุก











5.      นำกาบมะพร้าวม้วนมาปิดกระบอกข้าวหลาม













6.      เผาข้าวหลามพอประมาณ 30-45 นาที สังเกตกระบอกมีสีเหลืองทั่ว แสดงว่าข้าวหลามสุก





7.      ทิ้งไว้ให้อุ่น ปอกเปลือก และเหลาให้เปลือกข้าวหลามบางลง เพื่อให้แกะรับประทานได้ง่าย



บทที่ 5
สรุปอภิปรายและข้อเสนอแนะ
สรุป
การทำโครงงาน   เรื่องข้าวหลามเหนียวดำ ได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องการทำข้าวต่างๆ
-  ข้าวหลามรสชาติต่างๆ  ได้นำไปให้บุคคลต่างๆ รับประทานและสำรวจความพึงพอใจ ผลสรุปโดยภาพรวม อยู่ในระดับ ดี เมื่อแยกเป็นรายกลุ่มย่อย  ปรากฏผล  ดังนี้  ข้าวหลามรสโกโก้  อยู่ในระดับ ปานกลาง
ข้าววหลามรสชาติชาเขียว  อยู่ในระดับดี  ข้าวหลามรสชาติลูกเดือย  อยู่ในระดับ ดี  ข้าวหลามรสชาติถั่วดำ
อยู่ในระดับ ดีมาก ข้าวหลามรสชาติชาเย็น อยู่ในระดับ ดี ข้าวหลามรสชาติกะทิ อยู่ในระดับ ดีมาก ข้าวหลามรสชาติอัญชัน อยู่ในระดับ ดี ข้าวหลามรสชาติธัญพืช อยู่ในระดับ ดี
อภิปราย               
1.สามารถนำเอาโครงงานมาเป็นแบบอย่างในการศึกษาข้อมูลในการทำครั้งต่อไป
2ใช้ประโยชน์จากรูปเล่นโครงงานไปศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
3.นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
ในการทำโครงงานเรื่องการทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำในครั้งนี้ ทำให้ได้รู้และศึกษาข้อมูลจากแหล่งต้างๆ มาประยุกต์ใช้และได้รับประโยชน์ ดังนี้
1.รู้และนำไปปฎิบัติได้อย่างถูกวิธี
2.ได้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆและนำมาจัดทำเป็นรูปเล่มโครงงานเพื่อการศึกษาต่อไป
3.นำไปประกอบการเรียนรู้ในวิชาที่เกียวข้อง
4.ได้เรียนรู้และฝึกทักษะการทำข้าวหลามข้าวเหนียวดำ







ภาคผนวก









































1.             ตัดไผ่ข้าวหลามให้ยาวประมาณ 12 นิ้ว ล้างเฉพาะด้านนอกกระบอก ให้สะอาด คว่ำกระบอกลง พักไว้ให้แห้ง



















2.             ผสมกะทิ น้ำตาล และเกลือ รวมกันแล้วคนให้เข้ากันจนน้ำตาลละลาย

















3.             ล้างข้าวสารให้สะอาดจนกระทั่งน้ำใส นำข้าวใส่ตระกร้าเพื่อให้สะเด็ดน้ำ ใส่ถั่วดำต้มสุกลงในข้าว คลุกเคล้าให้เข้ากัน



4.             นำข้าวที่ผสมถั่วดำแล้วใส่ลงในกระบอก 1 กำมือ กระแทกเบาๆ ทำสลับกันต่อไปเรื่อยๆ จนเต็มกระบอก เลือกด้านบนกระบอกไว้ประมาณ 2 นิ้ว สำหรับปิดจุก




5.             นำกาบมะพร้าวม้วนมาปิดกระบอกข้าวหลาม





6.             เผาข้าวหลามพอประมาณ 30-45 นาที สังเกตกระบอกมีสีเหลืองทั่ว แสดงว่าข้าวหลามสุก





7.             ทิ้งไว้ให้อุ่น ปอกเปลือก และเหลาให้เปลือกข้าวหลามบางลง เพื่อให้แกะรับประทานได้ง่าย